โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
สืบเนื่องจากคู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)ส่งมาให้กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษาแจกตามโรงเรียนและศน.วิริยาร่วมดำเนินการแจกด้วย ทำให้ศน.วิริยาเกิดความสนใจเรื่อง EF...
โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
เมื่อได้รับการอบรมความรู้เรื่อง EF แล้วศน.สุภัคร พุทธานุ ในฐานะผู้ดูแลรับผิดชอบเรื่องการศึกษาปฐมวัย เห็นว่าความรู้ EF เป็นแนวทางที่สอดรับกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมากที่สุด และยังสอดคล้องเข้ากับแนวนโยบายหลักจากกระทรวงฯ รวมถึงหลักสูตรปฐมวัย และหลักสูตรฐานสมรรถนะ...
โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
ศน.บุปผารู้จักเรื่อง EF จากการเข้าอบรมเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด ที่ศธจ.จัดร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ต่อมาเข้าอบรมเรื่อง EF ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีจัดอบรมให้ครูปฐมวัยของโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แล้วเห็นว่ามีประโยชน์กับเด็กและโรงเรียนอย่างมาก...
โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
หลังจากได้รับการอบรมความรู้เรื่องทักษะสมองEFศน.บุญลักษณ์ก็สร้างคณะทำงานขับเคลื่อนEF จังหวัดกำแพงเพชรซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่ได้รับการอบรมความรู้ EF มาแล้วเช่นกัน เป็นคณะทำงานที่เข้มแข็ง มีความรู้ความเข้าใจ EF ร่วมกันขับเคลื่อน EF อย่างเข้มแข็ง กระตือรือร้น ...
โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
ศน.พงษ์พันธุ์ ไชยบุญเรือง เริ่มสนใจเรื่องทักษะสมอง EF จากสื่อ (กล่องล้อมรัก) ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.)จัดมอบให้แจกตามโรงเรียน ต่อมาเข้ารับการอบรมเรื่อง EF กับสถาบัน RLG ที่จัดอบรมให้ครู...
โดย กองบรรณาธิการ | ก.พ. 15, 2022 | Best Practice ศึกษานิเทศก์
ศน.อานันท์ปภาได้รู้จักเรื่อง EF จากโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนาที่ใช้กระบวนการเรียนรู้จิตศึกษาเป็นเครื่องมือพัฒนา EF ให้นักเรียน แล้วเข้าอบรมเรียนรู้ EF เพิ่มเติมกับสถาบัน RLG ต่อจากนั้นได้นำความรู้ EF มาขยายผลกับระดับชั้นปฐมวัยของโรงเรียนในโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (TSQP)...