Slide 1
EF Center

ตลอดระยะกว่า 8 ปี ของการขับเคลื่อนโครงการ องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะสมอง EF ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนทั่วประเทศ เกิดเป็นศูนย์เรียนรู้ EF ที่กระจายอยุ่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย เป็นศูนย์ที่รวบรวมเอกสาร สื่อ และองค์ความรู้เกี่ยวกับ EF ให้ชุมชนที่อยู่ใกล้ๆได้เข้าไปเรียนรู้เทคนิคการพัฒนาทักษะสมอง EF ให้กับนักเรียน และบุตรหลาน

Slide 1
EF Idea Collection Shop

พื้นที่รวบรวมไอเดีย กิจกรรม สื่อ เทคนิคการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาทักษะสมอง EF ทุกแผนได้รับการตรวจ และอนุมัติโดยนักวิชาการด้าน EF ชั้นนำ คุณครูหรือท่านที่สนใจนำแผนกิจกรรมของท่านมาฝากจำหน่ายสามารถติดต่อได้ที่ rlgexecutivefunction@gmail.com

Slide 1
EF Podcast

สื่อเสียงเพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EFมากกว่า 100 รายการ พัฒนาโดยสถาบัน RLG รักลูกเลิร์นนิ่งกรุ๊ป และนักวิชาการที่ชำนาญด้าน EF สร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อให้คุณครู พ่อแม่ผู้ปกครอง หรือผู้ที่ทำงานเกี่ยวการดูแลเด็กได้รับฟังและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป

previous arrowprevious arrow
next arrownext arrow

บทความวิชาการ

สมองเด็กในภาวะสงคราม

สมองเด็กในภาวะสงคราม

สมองเด็กในภาวะสงคราม สมองของเด็กประมาณ 90 % พัฒนาในช่วงอายุ 5 ขวบ นั่นหมายความว่า เด็กคนหนึ่งที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ จะเป็นคนเช่นไรนั้น...

อ่านเพิ่มเติม
กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน

กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน

กิจกรรมฝึกฝน EF ในเด็กวัย 18-36 เดือน เด็กวัยขวบครึ่งเริ่มพูดได้ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ (18-36 เดือน) เป็นช่วงเวลาที่การพัฒนาการด้านภาษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว...

อ่านเพิ่มเติม
การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน

การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน

การฝึกฝน EF ในเด็กวัย 6-18 เดือน ทักษะเชิงบริหารของสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) เป็นทักษะสำคัญของชีวิตในการดำเนินภารกิจในแต่ละวันให้บรรลุเป้าหมาย...

อ่านเพิ่มเติม
ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF

ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF

ดนตรีกับการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า EF การศึกษาวิจัยว่าดนตรีมีส่วนในการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Function) เพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา...

อ่านเพิ่มเติม
พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ

พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ

พัฒนา EF ด้วยการเล่นอย่างเป็นระบบ สมองส่วนหน้าบริเวณหลังหน้าผาก เป็นสมองส่วนของการคิดขั้นสูงที่มีทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF)...

อ่านเพิ่มเติม
ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ

ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ

ฝึกฝนเพื่อพัฒนา พัฒนาแล้วฝึกฝนต่อ ทักษะเชิงบริหารจัดการ (Executive Function: EF) ของสมองส่วนหน้า ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญที่สุดต่อความสำเร็จในการเรียนหนังสือและการทำงาน...

อ่านเพิ่มเติม

สาระพันเรื่อง EF

ครู โรงเรียน กับ การเห็นคุณค่าในตนเองของเด็ก

ครู โรงเรียน กับ การเห็นคุณค่าในตนเองของเด็ก

เด็กบางคนโชคร้ายไม่ได้รับโอกาสพัฒนา Self-Esteem จากพ่อแม่ในช่วงวัยเริ่มต้นของชีวิต ก็อาจมีโอกาสครั้งที่สองที่โรงเรียน นี่คือหลักการทั่วไปที่ควรคาดหวังได้ ...

อ่านเพิ่มเติม
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Self-Esteem

ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Self-Esteem

ปัจจัยที่เชื่อกันว่า ส่งผลให้คนเรามี Self-Esteem สูงหรือต่ำนั้นมีหลากหลายอย่างไม่น่าเชื่อ ว่ากันตั้งแต่กรรมพันธุ์; พ่อแม่เป็นคนที่มี Self-Esteem เป็นอย่างไร...

อ่านเพิ่มเติม
พ่อแม่คือคนสร้าง Self-Esteem ให้เด็ก

พ่อแม่คือคนสร้าง Self-Esteem ให้เด็ก

วัฒนธรรมไทยดั้งเดิมเราอาจจะไม่คุ้นนักกับ Self-Esteem หรือการเห็นคุณค่าในตนเอง เพราะเรามักจะ “กลัวเด็กเหลิง” เข้าใจไปว่าถ้าเด็กเห็นคุณค่าในตนเองมาก จะหยิ่งยะโส...

อ่านเพิ่มเติม
ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ความรู้ชุด: จักรวาลของ “สมอง”

ตระหนักในกฎแห่งการเรียนรู้ของสมอง ทันทีที่เด็กเกิดมา สิ่งที่เกิดขึ้นมาแรกสุกคือการพัฒนาระบบประสาทที่เกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหว การมองเห็น...

อ่านเพิ่มเติม

Microsite

Slide
Slide
Executive Functions

"คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น"

Slide
Executive Functions

"คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น
อยู่กับคนอื่นเป็นและมีความสุขเป็น"

previous arrow
next arrow

EF สำหรับพ่อแม่

วิธีส่งเสริมให้เด็กกล้าริเริ่ม ลงมือทำ

วิธีส่งเสริมให้เด็กกล้าริเริ่ม ลงมือทำ

วิธีส่งเสริมให้ลูกกล้าริเริ่ม ลงมือทำ เพื่อประสบความสำเร็จในชีวิตจุดเริ่มต้นของความสำเร็จในชีวิตคนเราอยู่ที่การกล้าริเริ่ม ลงมือทำ  แม้จะฉลาดปราดเปรื่องในการคิด...

อ่านเพิ่มเติม
เคล็ดลับพัฒนาทักษะลูกให้จำเก่ง จำแม่น

เคล็ดลับพัฒนาทักษะลูกให้จำเก่ง จำแม่น

เคล็ดลับของการพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการจำมีหลักอยู่ว่า จะจำได้ดี ต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อน คือ มีประสาทสัมผัสที่ดี...

อ่านเพิ่มเติม

EF สำหรับคุณครู

เล่นเกมพัฒนาความคิดยืดหยุ่น

เล่นเกมพัฒนาความคิดยืดหยุ่น

งานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนานยาง (Nanyang Technological University-NTU) ชี้ว่า ผู้ใหญ่ที่เล่นเกม “Cut the Rope” สม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง ทำให้ EF ดีขึ้น...

อ่านเพิ่มเติม
เคล็ดลับพัฒนาความจำ (Working Memory)

เคล็ดลับพัฒนาความจำ (Working Memory)

เคล็ดลับของการพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการจำมีหลักอยู่ว่า จะจำได้ดี ต้องมีประตูรับรู้ที่ดีก่อนคือ มีประสาทสัมผัสที่ดี...

อ่านเพิ่มเติม

งานวิจัยด้าน EF

Less Structured activities vs. EF

Less Structured activities vs. EF

นักวิจัยพบว่า เมื่อเด็กเป็นผู้กำหนดด้วยตนเอง ว่า จะใช้เวลาในการทำกิจกรรมอะไร อย่างไร เด็กจะสามารถทำชิ้นงานให้บรรลุเป้าหมายได้มากกว่า...

อ่านเพิ่มเติม